“โรคหืด” อัตราการสูญเสียมากกว่าโควิด - 19

"Astım" kayıp oranı Covid-19'dan daha yüksek

oba eskortu

 

<Resim 1 Ekle>

Dünya Sağlık Örgütü (WHO) ve Dünya Astım Örgütü'nün düzenlediği "Dünya Astım Günü: Dünya Astım Günü 2021" vesilesiyle Bu yıl, konsept altında düzenlenen 5 Mayıs 2021'e düşecek. “Astım Hakkındaki Yanılgıların Kilidini Açmak: Astımla İlgili Yanılgıları Ortaya Çıkarmak”

 Tayland Astım Derneği (TAC) Başkanı Prof. Dr. Oraphan Pochanukul, bu vesileyle tüm taraflara hastalığı doğru bir şekilde anlama ve eğitme konusunda bilinçlenmelerini hatırlatmak için bu fırsatı değerlendirdi. ve kendine iyi bak can kaybı riskini azaltmak için

<Resim 2 Ekle>

Halihazırda astımlı hastaların morbidite oranlarının azaldığı tespit edilmiştir. Ancak astımın komorbiditelerinden kaynaklanan mortalite artmıştır. bilgilerinden görülebilir worldlifeexpectancy.com Tayland halkının astımdan öldüğünü, günde 8-9 vakanın, yılda 3.142 vakayı temsil ettiğini veya 100.000 kişi başına 3.42 vakanın olduğunu ve bunların yetişkinlerin çocuklardan yaklaşık 5 kat daha fazla öldüğünü tespit etti.

สาเหตุส่วนใหญ่ คือ ไม่ได้พ่นยาป้องกันหอบต่อเนื่อง และเวลามีอาการกำเริบก็จะพ่นยาไม่ทัน/ไม่ถูกวิธี เนื่องจากผู้ป่วยหรือผู้ดูแลขาดความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้องเมื่อมีอาการ ดังนั้น ทางสมาคมฯ จึงมีหน้าที่ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง และสร้างความเข้าใจเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย

‘โรคหืด’ เป็นโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ และสามารถรักษาให้หายได้ แต่เป็นอันตรายต่อชีวิตสูงหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง เป็นโรคที่เกิดจากภาวะหลอดลมไวต่อสิ่งกระตุ้นมากผิดปกติ ทั้งจากการติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดเกร็ง ตีบแคบเป็นพักๆ ทำให้เกิดอาการเหนื่อย หายใจลำบากตามมา

ปัจจัยแวดล้อมเกิดขึ้นได้ทั้งจากทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย หากครอบครัวมีประวัติหรือผู้ป่วยมีภาวะโรคพบร่วม อย่างภาวะนอนกรนจนอุดกั้นทางเดินหายใจ โรคอ้วน และอาการภูมิแพ้ รวมถึงสิ่งกระตุ้นให้อาการหอบกำเริบ เช่น ฝุ่นละอองในอากาศ PM 2.5 ฝุ่นละอองตามบ้านเรือน ควันบุหรี่ ขนสัตว์/สัตว์
เชื้อรา ละอองเกสรดอกไม้ สารเคมี เป็นต้น ล้วนเพิ่มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหืดได้

mahmutlar escort

 

 “การรักษาผู้ป่วยโรคหืดไม่ใช่รักษาเฉพาะโรคหืดอย่างเดียว แต่จะรักษาโรคร่วม เช่น แพ้อากาศ ไซนัส ไอเรื้อรัง ภาวะนอนกรน กรดไหลย้อน ภาวะอ้วน ทำให้โรคหอบหืดคุมอาการยาก”

 ขณะที่ คนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่าเป็นโรคหืดเป็นอาการเรื้อรัง รักษาไม่หาย ทำให้ขาดความสม่ำเสมอในการใช้ยา ซึ่งปกติคนไข้จะมียาติดตัว 2 ประเภท คือ

1.ยาควบคุม สำหรับใช้ระยะยาว ช่วยให้รักษาหาย
2.ยาฉุกเฉิน ใช้ในกรณีที่มีอาการหอบกำเริบ ช่วยขยายหลอดลม

 แต่ในความเป็นจริง ‘โรคหืด’ สามารถรักษาหาย ยิ่งรักษาเร็วและต่อเนื่องยิ่งมีโอกาสหายสูง โดยในเด็กมีโอกาสหายมากกว่าร้อยละ 50 ส่วนผู้ใหญ่และผู้สูงวัยถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีอาการรุนแรงกว่าเด็กและพ่นยาได้ยากกว่า เพราะบางคนชินกับอาการจนไม่รู้ว่าตัวเองเป็นโรคหืด

ที่สำคัญการรักษาด้วยการใช้ยาสเตียรอยด์สูดพ่นต้องสม่ำเสมอเป็นประจำไม่ว่าจะแสดงอาการหรือไม่แสดงก็ตาม และต้องสามารถปรับลด/เพิ่มขนาดของยาตามผลการรักษาโรคได้เหมือนโรคเรื้อรังทั่วไป เช่น เบาหวาน ความดัน ไม่แนะนำให้หยุดยารักษาโรคหืดด้วยตัวเอง เพราะจะทำให้อาการกำเริบได้

 โดยเฉพาะท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโควิด-19 หลายคนเกิดคำถามว่า โรคหืดจะเพิ่มความเสี่ยงในการติดโควิด-19 หรือไม่ คำตอบคือ ไม่

เพราะผลการศึกษาทางระบาดวิทยาพบว่า คนปกติกับผู้ป่วยโรคหืดมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อโควิด-19 ไม่แตกต่างกัน แต่หากผู้ป่วยโรคหืดได้รับเชื้อโควิด-19 อาจมีภาวะปอดอักเสบรุนแรงมากกว่า กลับกันการใช้ยาสเตียรอยด์สูดพ่นในผู้ป่วยโรคหืดเป็นประจำยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด-19 แบบรุนแรง หากแต่เมื่อเป็นโรคหืดแล้ว อัตราการสูญเสียทั้งชีวิต ซึ่งจากสถิติในประเทศไทยมีถึง 7,000 คนต่อปี และคุณภาพชีวิตที่ผู้ป่วยต้องใช้เวลารักษาตัว ทำให้สูญเสียโอกาสในการดำเนินชีวิตกรณีที่ป่วยเป็นระยะยาวนาน จากอาการเรื้อรังของโรคมีมากกว่า

 ความเข้าใจผิดอีกประการ คือ ผู้ป่วยโรคหืดไม่ควร/ไม่สามารถออกกำลังกายได้...ไม่เป็นความจริงทั้งหมด เพราะโรคหืดอาจแย่ลงในผู้ป่วยบางรายหลังออกกำลังกาย แต่ความจริง คือ การออกกำลังกายที่เหมาะสมช่วยให้อาการหอบหืดดีขึ้น เป็นเป้าหมายในการรักษาให้คนไข้หายจากอาการป่วยและสามารถออกแรงได้เหมือนคนปกติทั่วไป

 สมาคมสภาองค์กรโรคหืดแห่งประเทศไทย (TAC) จึงมีความพยายามอย่างยิ่งในการสร้างแนวทางการรักษาโรคหืดให้เป็นมาตรฐาน สำหรับแพทย์เฉพาะทางและแพทย์ทั่วไปใช้ในการดูแลคนไข้โรคหืดได้อย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรมที่ทันสมัยเหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการมาก/น้อยแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละประเทศ

 ไม่ว่าจะเป็นการจัดอบรมบุคลากรทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง เพื่ออัพเดตข้อมูลแนวทางการรักษาใหม่ในระดับสากล รวมถึงการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์แยกแยะปัญหา จำแนกปัจจัยความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบให้มีผู้เป็นโรคหืดเพิ่มขึ้น เช่น ระดับความยากจนส่งผลต่อสภาพการใช้ชีวิตและอาจนำไปสู่ความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหืด การปรับตัวในการให้ความรู้ผ่านระบบ E-Learning และส่งข้อมูลไปยังสมาชิกทั่วโลกได้นำไปวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาจนตกผลึกเป็นแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน

นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังสนับสนุนให้มีการขยายเครือข่ายการดำเนินงานของคลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบง่ายในโรงพยาบาลทั่วประเทศที่ไม่มีแพทย์เฉพาะทางส่งเสริมให้มีสถานบริการสาธารณสุขโรคหืดทั้งในระดับโรงพยาบาลศูนย์ในภูมิภาคทั่วประเทศ โรงพยาบาลทั่วไป จนถึงโรงพยาบาลชุมชน ให้ผู้ป่วยได้เข้าถึงการรักษา เข้าถึงยาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 ทางสมาคมฯ ยังยืนหยัดตั้งมั่นกำหนดแนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่เป็นรูปธรรมและใช้ได้จริง ผลักดันระดับนโยบายที่ได้รับการผลักดันต่อเนื่อง ให้คนเข้าถึงบริการที่เท่าเทียมกัน

 เพื่อให้ทุกคนตื่นรู้ถึงภัยของโรคหืด แต่ไม่ตื่นกลัว เพราะโรคหืดไม่ใช่โรคที่น่ากลัว หากรู้จักสังเกต ดูแลและรับประทานยาในการรักษาอย่างถูกต้องเป็นประจำสม่ำเสมอก็สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี หายขาดจากโรคได้

alanya escort

 

นอกจากนี้ รศ. นพ. ธีระศักดิ์ แก้วอมตวงศ์ เลขาธิการสมาคมสภาองค์กรโรคหืดแห่งประเทศไทย (TAC) ได้กล่าวเสริมว่า เนื่องในโอกาสวันโรคหืดโลก หรือ World Asthma Day ถือได้ว่าเป็นระยะเวลากว่า 2 ทศวรรษที่มีการจัดตั้งวันหืดโลกในปี 2541 ภายใต้ความร่วมมือของกลุ่มทำงานทางด้านสาธารณสุข เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาโรคหืดให้เกิดมาตรฐานเท่าเทียมกันทั่วโลก โดยมีความเท่าเทียมกันทั้งในการเข้าถึงบริการทางสาธารณสุข การวินิจฉัย และการรักษา รวมทั้งยังให้ความสำคัญในเรื่องของทรัพยากรทางด้านการสาธารณสุข (Healthcare accessibility)

อย่างไรก็ตาม เป็นที่ทราบดีว่าความรู้เกี่ยวกับโรคหืด และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหืดในยุคที่ social media สามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยการรักษาโรคหืด (Information accessibility) ในบางด้าน ซึ่งจะต้องได้รับการปรับปรุงและแก้ไข เนื่องจากความเข้าใจผิดบางอย่างอาจมีผลต่อการวางแผนการรักษาและการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคหืด 

ดังนั้น จึงเป็นโอกาสที่ดีที่จะได้มีการพูดถึงข้อมูลด้านใดด้านหนึ่งของโรคหืด ที่ปัจจุบันยังมีผู้ป่วยโรคหืดจำนวนมากที่อาจเข้าใจผิด ซึ่งสมาคมฯ กำลังเร่งสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตาม Theme ของ World Asthma Day 2021 ที่มีหัวข้อว่า Uncovering Asthma Misconception หรือ ปลดล็อคความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับโรคนี้ ได้แก่

1. โรคหืดเป็นโรคติดเชื้อและสามารถติอต่อกันได้ ซึ่งคำตอบที่ถูกต้อง คือ โรคหืดไม่ใช่โรคติดเชื้อ แต่การติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย ทำให้อาการหืดกำเริบ หรือมีอาการแย่ลงได้ การรักษาโรคหืดด้วยยาสูดพ่นสเตียรอยด์เป็นประจำจะช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ 

2. การรักษาหืดต้องใช้ยาสเตียรอยด์ที่สูดพ่นในขนาดสูงเพื่อรักษาโรค คำตอบคือ ไม่จริง การรักษาโรคหืดมีการปรับลดยา ขนาดของยาควบคุมโรคหืดสามารถจะปรับ ขึ้นๆ ลงๆ ตามผลการรักษาโรคได้เหมือนโรคเรื้อรังทั่วไป เช่น เบาหวาน อย่างไรก็ตาม ไม่แนะนำให้หยุดยารักษาโรคหืดเองในผู้ป่วยเพราะอาจทำให้โรคกำเริบได้

3. โรคหืดทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถออกกำลังกายได้ และไม่ควรออกกำลังหากผู้ป่วยมีโรคหืด คำตอบคือ ไม่จริง การออกกำลังกายช่วยให้อาการหืดดีขึ้น แต่โรคหืดอาจแย่ลงในผู้ป่วยบางรายหลังออกกำลังกาย ซึ่งเป้าหมายในการรักษาโรคหืด นอกจากทำให้ผู้ป่วยไม่มีอาการแล้วยังต้องทำให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการออกแรงเหมือนคนปกติทั่วไปที่ไม่มีโรคหืดอีกด้วย

4. โรคหืดเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อ COVID-19 หรือไม่ คำตอบคือ ไม่จริง จากการศึกษาทางระบาดวิทยาพบว่าผู้ป่วยโรคหืดใน cohort หรือกลุ่มผู้ป่วยที่ติดเชื้อ COVID-19 ไม่แตกต่างกับผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อ COVID-19 แต่อาจพบความรุนแรงของโรคปอดอักเสบมากกว่าผู้ป่วย COVID-19 ที่ไม่มีโรคหืด และพบว่าปัจจัยเรื่องตัวรับเชื้อไวรัสในผู้ป่วยโรคหืดที่ได้รับยาสูดพ่นคอน์ติโคสเตียรอยด์ ลดลง ดังนั้นโรคหืดจึงไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ COVID-19 และการรักษาโรคหืดด้วยยาสเตียรอยด์สูดพ่นเป็นประจำจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ COVID-19

Mayıs ayındaki Dünya Astım Günü vesilesiyle bu sefer Bu nedenle herkesin astımın tehlikelerinin farkında olduğunu vurgulamak isterim. doğru bir anlayış oluşturmanın yanı sıra hasta bakımını geliştirmek bireyler, kuruluşlar, dernekler ve ülkeler düzeyinde sistematik olarak

Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al Tiktok Takipçi Satın Al