เครื่องมือต้นทุนต่ำในการประเมินภาวะหูชั้นกลางอักเสบในร้านยาหรือสถานปฏิบัติการปฐมภูมิ

เครื่องมือต้นทุนต่ำในการประเมินภาวะหูชั้นกลางอักเสบในร้านยาหรือสถานปฏิบัติการปฐมภูมิ

 

istanbul escort istanbul escort umraniye escort sisli escort taksim escort istanbul escorts sisli eskort izmir escort tbilisi escort umraniye escort sisli escort sisli escort sisli escort sisli escort escort bayan taksim escort umraniye escort kartal escort sirinevler escort maltepe escort bebek escort istanbul escort kadikoy escort vip escort mersin escort atakoy escort avcilar escort beylikduzu escort okmeydani escort besiktas escort sisli escort maslak escort maslak escort tuzla escort sex shop isitme cihazi sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop sex shop cekmekoy escort esenler escort bahcesehir escort capa escort topkapi escort merter escort aksaray escort halkali escort istanbul massage

ภาวะหูชั้นกลางอักเสบพบได้บ่อยในเด็ก และทำให้เกิดอาการของโรคที่รุนแรง เช่น ไข้สูง ปวดหู หูอื้อ แต่อย่างไรก็ตาม แนวทางการรักษาและการวินิจฉัยโรคนี้ใน guideline ต่าง ๆ ระบุว่า ให้พิจารณาจากการบวมแดงของเยื่อบุแก้วหูเป็นหลัก ซึ่งไม่สามารถทำได้ในบริบทร้านยาหรือสถานปฏิบัติการปฐมภูมิ ดังนั้น Poowaruttanawiwit P และคณะ จึงคิดค้นและออกแบบเครื่องมือต้นทุนต่ำในการประเมินภาวะหูชั้นกลางอักเสบ ในร้านยาหรือสถานปฏิบัติการปฐมภูมิ ที่มีคุณลักษณะสำคัญ คือ ใช้ประเมินภาวะไข้ได้ ใช้ประเมินภาวะปวดหู และ อาจประเมินการมีหนองอยู่ในรูหูได้ โดยใช้เครื่องมือประเมินการอุดตันของโพรงจมูก NU_nsasalBreathe (NUB) มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ mobile phone infrared thermometer มีหลักการทำงาน คือ ให้ผู้ใช้งานตรวจอุณหภูมิโดย “ใช้ mobile phone infrared thermometer เพื่อวัดไข้ จากนั้น หายใจออกผ่าน NUB ทางจมูกข้างเดียวกับหูข้างที่สงสัยว่าเกิดโรค ในขณะที่ปิดรูจมูกอีกข้างหนึ่ง” หากพบว่ามีความเป็นได้ในการเกิดภาวะหูชั้นกลางอักเสบ จะพบว่าผู้ป่วยจะมีอาการปวดหู เนื่องจากมีแรงดันผ่าน eustachian tube ไปปะทะที่เยื่อบุแก้วหู หากแก้วหูมีการอักเสบก็จะรู้สึกปวดขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม วิธีนี้อาจมีข้อจำกัดหลายประการ เช่น ทำให้เกิดความเจ็บปวดแก่ผู้ป่วย อาจเพิ่มโอกาสเกิดการติดเชื้อแทรกซ้อน จากจมูกไปสู่หูชั้นกลางและชั้นใน เป็นต้น ในอนาคตต้องทำการวิจัยเพื่อยืนยันประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ความร่วมมือในการใช้งานต่อยอดให้ชัดเจนมากขึ้น หากสนใจเครื่องมือหรือต้องการร่วมงานวิจัย ติดต่อ yuth_pu@hotmail.com

ที่มา: Prayuth P, Ninnart R, Janyut S. Design and development of nasal obstruction evaluation instrument. Thai J Pediatr 2018;3:145-54.